อารยธรรม “ข้าวไทย”

ข้าวกล้องอุดมด้วยเส้นใยอาหาร ช่วยป้องกัน โรคเหน็บชา โรคโลหิตจาง

ข้าว ถือเป็นอาหารประจําชาติของประเทศไทย ที่มีตํานานประวัติศาสตร์มายาวนาน

กว่า 5,500 ปี และจากการศึกษาวิจัยเพ่ิมเติม ทําให้ทราบว่าในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-20 มีข้าวชนิดต่าง ๆ จํานวน 3 ขนาดคือ

  1. ข้าวเมล็ดใหญ่ ได้แก่ ข้าวเหนียวท่ีงอกงามในที่สูง
  2. ข้าวเมล็ดป้อม ได้แก่ ข้าวเหนียวท่ีงอกงามในที่ลุ่ม (ทั้งสองชนิดมีการเพาะปลูกก่อนสมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16)
  3. ข้าวเมล็ดเรียว ได้แก่ ข้าวเจ้า พบในสมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-18)


ต่อมาในสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1740-2040) ข้าวที่ปลูกในสมัยนี้ยังเป็นข้าวเหนียวเมล็ดป้อมและเมล็ดยาว

แต่เริ่มมีการปลูกข้าวเจ้าเมล็ดยาวเรียวเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ ในยุคนี้พระมหากษัตริย์ทรงทํานุบํารุงการกสิกรรม ทําให้ได้ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ ดังปรากฏในศิลาจารึกว่า "ในน้ำมี ปลา ในนามีข้าว" มีการหักล้างถางพงและถือครองเป็นที่ทํากิน ก่อให้เกิดระบบการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมขึ้น ดังนั้น ระบบศักดินาซึ่งเป็นการแบ่งระดับชนช้ันตามจํานวนของพื้นที่นาจึงน่าจะเริ่มในยุคนี้

เมื่อเข้าสู่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น บ้านเมืองมีความมั่งคั่งเป็นอู่ข้าวอู่น้ําที่สําคัญ จึงได้เริ่มมีระบบการปกครองแบบจตุสดมภ์มี "กรมนา" ดูแลและส่งเสริมสนับสนุนการทํานาอย่าง จริงจัง ทําให้ข้าวกลายเป็นอาหารหลักของประชากรและเป็นเสบียงสํารองในยามเกิดศึกสงคราม จนมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีการเก็บอากร ข้าวในภาคกลาง ส่วนใหญ่เป็นพันธ์ุข้าวท่ีทางราชการแนะนํา หรือพันธุ์พื้นเมืองที่มีคุณภาพ

ในช่วงนี้เองที่ประเทศตะวันตกได้มีการขยายอาณานิคม ประเทศไทยจึงมีโอกาสทําการค้ากับต่างประเทศมากขึ้น ส่งผลให้ข้าวไทยกลายเป็นสินค้าส่งออกท่ีสําคัญ ทําให้รัฐบาลต้องขยายพื้นที่เพาะปลูก เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตข้าวในเขตพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยา

ปัจจุบันการปลูกข้าวในประเทศไทย คงมีเพียงข้าวเมล็ดป้อมที่พบมากในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่ข้าวเมล็ดยาว พบมากในภาคกลางและภาคใต้ ที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ปลูกข้าว คิดเป็น 45 % ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งประเทศ ส่วนใหญ่ปลูกข้าวหอมมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวคุณภาพดีที่สุดของโลก ข้าวที่ปลูกในพื้นที่แถบนี้ จึงมักปลูกไว้เพื่อขาย รองลงมาคือ ภาคกลาง และภาคเหนือ ที่พื้นที่เพาะปลูกเท่ากันประมาณ 25%

ทุกวันนี้ไทยเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ผลิตออกสู่ตลาดโลกมากที่สุด และเป็นศูนย์กลางของการศึกษาวิจัยพันธุ์ข้าว ซึ่งแสดงให้เห็นถึงบทบาทของผู้สร้างตํานานแห่งอารยธรรมธัญญาหาร ของมนุษยชาติ

บทความสาระน่ารู้อื่นๆ

“ข้าว” ธัญญาหารหลักของชาวโลก

ประวัติข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมมะลิ (Thai Jasmine Rice)

ไขความลับ!!! ทําไมต้องเป็น "ข้าวดอกมะลิ 105"

กินข้าวกล้องดี...อย่างไร?

ข้าวไรซ์เบอร์รี่

กำจัดมอดในข้าวสาร ด้วย 3 วิธีสุดเจ๋ง

ข้าวบูดเร็ว แก้ได้ ง่ายนิดเดียว

หุงข้าวกล้องสูตรเร่งรัด ด้วยไมโครเวฟ

ข้าวหักอย่าทิ้ง! ใช้ทำโจ๊กสุดอร่อย

มาดู! 5 ประโยชน์จากน้ำซาวข้าว

หุงข้าวกล้องยังไงให้อร่อย น่ารับประทาน

บอกลาข้าวแฉะด้วยขนมปังแผ่นสุดเวิร์ค

“ข้าวเหนียว” คงเป็นเมนูที่ชื่นชอบสำหรับใครหลาย ๆ คน

กำจัดกลิ่นอับ "ในข้าวสาร" ง๊ายง่าย ด้วยใบเตย

แช่ "ข้าวเหนียว" ก่อนหุง ให้นุ่มอร่อย ด้วยน้ำมะนาว

5 วิธีแก้ หุงข้าวไม่สุก

เนยจืดช่วยทำให้ข้าวหอมมะลิเหนียวนุ่มน่ารับประทาน

เคล็ดลับหุง​ข้าวหอมนิล ให้เมล็ดนุ่ม หอมอร่อย ได้ไม่ยาก

เคล็ดลับหุง "ข้าวเหนียวเขี้ยวงู" ให้ เหนียวนุ่ม อร่อย ด้วยหม้อหุงไฟฟ้า

5 ประโยชน์จาก "ข้าวไรซ์เบอร์รี่"

น้ำซาวข้าวดื่มแล้วได้ประโยชน์ ช่วยแก้อาการร้อนใน

เคล็ดลับเก็บข้าวสารอย่างไร ให้อยู่ได้นาน ไร้มอดกวนใจ

หุงข้าวกล้องด้วยไมโครเวฟยังไงให้เมล็ดนุ่ม หอม อร่อยชัวร์

เคล็ดลับการหุงข้าวเหนียวให้นุ่มอร่อย

ใบเตย...ช่วยดูดกลิ่นทำให้ข้าวไม่เหม็นอับ

หมดปัญหา! หุงข้าวไรซ์เบอร์รี่แล้วแฉะเกินไป

“เนยจืด” ช่วยทำให้ข้าวหอมมะลิ สุกหอม เหนียวนุ่ม น่ารับประทาน

วิธีเก็บรักษาข้าวหอมมะลิต้นฤดู ให้หอม นุ่ม สดใหม่ อร่อยได้นาน

ข้าวบูดเร็ว แก้ได้ ง่ายนิดเดียว

เคล็ดไม่ลับการทำความสะอาด”หม้อหุงข้าวบูด”

บอกลาข้าวแฉะด้วยขนมปังแผ่นสุดเวิร์ค

4 วิธีหุงข้าวใหม่ให้อร่อย

แกงเค็มไปแก้รสแกงง่ายๆเพียงแค่“มันฝรั่ง”

ข้าวที่ให้เรามากกว่าอิ่มท้อง ข้าว = ยา

5 เคล็ดลับทำ ข้าวผัดอร่อยขั้นเทพ

หุงข้าวหอมมะลิต้นฤดู ใครว่ายาก?

ผักกับเทคนิคดีๆสำหรับสายเฮลตี้

5 เคล็ดลับคู่ครัว ที่ช่วยให้ชีวิตง่ายขึ้น

ได้รับการรับรองระบบประกันคุณภาพ GMP, HACCP, ISO 9001 และผ่านการตรวจระบบ BRC ในปี 2558

สำนักงานใหญ่

640 ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 แยก 22 (ประสานใจ) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

ติดตามรับข่าวสาร